4.1ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมรับชื่อนามสกุล เมื่อรับชื่อและนามสกุลแล้วให้แสดงกล่องตอบโต้ทักทายว่าสวัสดี ตามด้วยชื่อที่รับมา
<html>
<head><strike></strike>
<script language="javascript">
<!--
var a;
var b;
a=prompt("input your name");
b=prompt("input your last name");
alert ("สวัสดี"+a+b);
</script>
</head>
</html>
4.2 ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าและแสดงผลการหาค่าทางวกล่องตอบโต้
<html>
<head><strike></strike>
<script language="javascript">
<!--
var a;
var b;
a=prompt("input your widht");
b=prompt("input your height");
alert("พื้นที่สี่เหลี่ยม"+a*b);
</script>
</head>
</html>
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันแม่แห่งชาติ
วันแม่แห่งชาติ
ประวัติวันแม่
แต่เดิมนั้น วันแม่ของชาติได้กำหนดเอาไว้วันที่ 15 เมษายนของทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมานั้นได้รับความสำเร็จด้วยดี ด้วยประชาชนให้การสนับสนุน จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป
มีการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การประกวดคำขวัญวันแม่ การประกวดแม่ของชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความ สำคัญของแม่ และเพื่อเพิ่มความสำคัญของวันแม่ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจำปีของชาติตามประกาศของรัฐบาลฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม แต่โดยทั่วไปเรียกกันว่าวัน แม่ของชาติ
ต่อ มาถึง พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
แต่เดิมนั้น วันแม่ของชาติได้กำหนดเอาไว้วันที่ 15 เมษายนของทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมานั้นได้รับความสำเร็จด้วยดี ด้วยประชาชนให้การสนับสนุน จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป
มีการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา การประกวดคำขวัญวันแม่ การประกวดแม่ของชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความ สำคัญของแม่ และเพื่อเพิ่มความสำคัญของวันแม่ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจำปีของชาติตามประกาศของรัฐบาลฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม แต่โดยทั่วไปเรียกกันว่าวัน แม่ของชาติ
ต่อ มาถึง พ.ศ.2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรปฏิบัติในวันแม่แห่งชาติ
1. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน
2. จัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล เพื่อรำลึกถึง
1. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน
2. จัดกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับวันแม่ เช่น การจัดนิทรรศการ
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทำบุญใส่บาตรอุทิศส่วนกุศล เพื่อรำลึกถึง
พระคุณของแม่
4. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่
4. นำพวงมาลัยดอกมะลิไปกราบขอพรจากแม่
<3 <3 <3 <3
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
ความหมายคำว่า "วิสาขบูชา"
หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน ๖ วิสาขบูชา ย่อมาจาก "วิสา - ขบุรณมีบูชา"
แปลว่า "การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" ถ้าปีใดมีอธิกามาส คือ มีเดือน ๘
สองครั้ง ก็เลื่อนไปเป็นกลางเดือน ๗
ความสำคัญวันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนาเพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้า ประสูติคือเกิดได้ ตรัสรู้คือสำเร็จ ได้ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง ๓ คราวคือ
เป็นวันประสูติ
เมื่อพระนางสิริมหามายาอัครมเหสีในพระเจ้าสุโททะนะ ทรงมีพระประสูติกาล คือ เจ้าชายสิทธัตถะ ณ ป่าลุมพินีวัน ซึ่งเป็นดินแดนระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ ปัจจุบันเรียกว่า ตำบลรุมมินเต แขวงเปชวาร์ ประเทศเนปาล ครั้งนั้นตรงกับวันศุกร์ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีจอ ก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี
เป็นวันตรัสรู้
หลังจากที่เจ้าชายสิทธัตถะทรงถือเพศฆราวาสมา ๒๙ พรรษา จนมีพระโอรสคือ
พระราหุล แล้วทรงเบื่อหน่ายทางโลก จึงเสด็จออกบรรพชา
ทรงประจักษ์หลักธรรมขึ้นในพระปัญญษ
และได้ตรัสรู้เป็นพระสัพพัญญสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยสมบูรณ์ ณ
ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุ เวลา เสนานิคม
(ปัจจุบันสถานที่ตรัสรู้แห่งนี้เรียกว่า พุทธคยา เป็น
ตำบลหนึ่งของเมืองคยา แห่งรัฐพิหารของอินเดีย) ตรงกับวันพุธขึ้น ๑๕ ค่ำ
เดือน ๖ ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี (ขณะนั้นพระพุทธองค์มีพระชนม์มายุได้
๓๕ พรรษา หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี
วันปรินิพพาน
หลัง
จากพระพุทธเจ้าองค์ทรงใช้เวลาทั้งหมดเผยแพร่พระศาสนาและสั่งสอนธรรมแก่
ประชาชน จนพระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน ณ สาลวโนทยาน
แขวงเมืองกุสินารา แคว้นมัลละ(ปัจจุบันอยู่ในเมือง กุสีนคระ)
แคว้นอุตตระประเทศ ประเทศอินเดีย ตรงกับวันอังคารขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖
ปีมะเส็ง ก่อนพุทธศักราช ๑ ปี นับว่าเป็นเรื่องที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง ที่เหตุการณ์ทั้ง ๓ เกี่ยวกับวิถีชีวิตของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งมีช่วงระยะเวลาห่างกันนับเวลาหลายสิบปี บังเอิญเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือน ๖ ดังนั้นเมื่อถึงวันสำคัญ เช่นนี้ ชาวพุทธทั้งคฤหัสถ์ และบรรพชิต ได้พร้อมใจกันประกอบพิธีบูชาพระพุทธองค์เป็นการพิเศษ เพื่อน้อมรำลึกถึง พระกรุณาธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และ พระบริสุทธิคุณ ของพระองค์ท่าน ผู้เป็นดวงประทีบของโลก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)